บทความจากผู้เขียน : Alitta Boonrueang

ฟ้อนอุ่นไอดิน

ฟ้อนอุ่นไอดิน

เมื่อพูดถึง “ไอดิน”  ภาพพจน์ที่ติดอยู่ในความทรงจำ คือ พอฝนตกโรยรดดินอันแห้งระอุ ดินคายไอน้ำออกมา ไอน้ำนั้น คือไอดิน ซึ่งมีกลิ่นหอม “ไอดินถิ่นอีสาน” ก็คือ กลิ่นห …
ฟ้อนตำนานท้องนา

ฟ้อนตำนานท้องนา

ผู้คนในภูมิภาคอีสาน มีอาชีพหลักคือเกษตรกรรม บริโภคข้าวเหนียวเป็นส่วนใหญ่ ข้าวเหนียวที่บริโภค เป็นผลผลิตในครัวเรือน กว่าจะได้ข้าวเหนียว ต้องผ่านกระบวนการอะไรบ้าง …
ฟ้อนบุญบั้งไฟ

ฟ้อนบุญบั้งไฟ

บุญบั้งไฟ เป็นประเพณีที่เกิดจากความเชื่อเกี่ยวกับพญาแถนซึ่งเป็นเทวดาผู้ดูแลมนุษย์ เมื่อถึงเดือนหกเริ่มต้นการทำนา ชาวบ้านจะจุดบั้งไฟ เป็นการบูชาขอให้พญาแถนบันดาล …
ฟ้อนฉลองผะเหวด

ฟ้อนฉลองผะเหวด

“บุญผะเหวด” เป็นสำเนียงชาวอีสานที่มาจากคำว่า “บุญพระเวส”หรือพระเวสสันดร เป็นประเพณีตามคติความเชื่อของชาวอีสานที่ว่า หากผู้ใดได้ฟังเทศน์เ …
ฟ้อนจุฬาสรภัญ

ฟ้อนจุฬาสรภัญ

ภูมิภาคอีสาน นอกจากมีการเล่านิทาน เล่าเรื่องราวผ่านการเทศน์ และหมอลำต่างๆ แล้ว ยังมีศิลปะการเล่าเรื่องอีกแขนงหนึ่ง คือ สรภัญญะ สรภัญญะ คือการขับร้องด้วยทำนองเฉพ …
ฟ้อนบายศรีสู่ขวัญ

ฟ้อนบายศรีสู่ขวัญ

ประเพณีการสู่ขวัญ เป็นประเพณีตามศาสนาพราหมณ์ที่นิยมกระทำสืบต่อกันมาอย่างช้านาน ถือว่าเมื่อได้มีการทำพิธีนี้แล้วจะก่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต การทำพิธีีสู …
ฟ้อนตังหวาย

ฟ้อนตังหวาย

ฟ้อนตังหวาย เป็นชุดการแสดงเมื่อ นายประดิษฐ์ แก้วชิน ได้ไปพบการแสดงนี้ในอำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี เห็นว่าการแสดงหมอลำตังหวายมีทำนองสนุกสนาน จึงได้ทดลองให้เด็กนักเรียนมาฝึกหัด แล้วนำออกไปแสดงในงานปีใหม่ ที่ทุ่งศรีเมืองกลางเมืองอุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ.2514
ฟ้อนเผ่าไทภูพาน

ฟ้อนเผ่าไทภูพาน

ฟ้อนเผ่าไทภูพาน ใช้ผู้แสดงหญิง 10 คน เผ่าละ 2 คน โดยมีลำดับการออกของแต่ละเผ่า ดังนี้ เผ่าผู้ไท เผ่าย้อ เผ่ากะเลิง เผ่าโส้ และเผ่าแสก สุดท้ายทุกเผ่าจะฟ้อนร่วมกัน เป็นนัยบอกว่า แม้ต่างเผ่า ก็อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ
การฟ้อนไทพวน

การฟ้อนไทพวน

ฟ้อนไทพวน ประดิษฐ์และออกแบบโดยชมรมนาฏศิลป์หนองคาย จากนั้น วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬศิลป์ ได้นำไปเผยแพร่ต่อ การแต่งกาย เป็นแบบประยุกต์ด้วยชุดที่ได้รับอิทธิพลแบบไทลื้อ โดยมีเสื้อที่ดัดแปลงมาจากชุดไทลื้อ นุ่งซิ่นมุกต่อตีนจกแบบไทพวนแท้ๆ ใช้ผ้าขิดลายขาว-ดำ พันศีรษะ
การฟ้อนแคน

การฟ้อนแคน

การฟ้อนแคน นำเสนอบรรยากาศการเกี้ยวพาราสี เล่นสนุกสนานกันระหว่างหนุ่มสาวชาวบ้าน โดยใช้แคนเป็นอุปกรณ์หลัก หรือเป็นสื่อ ดนตรี บรรเลงจังหวะเซิ้ง โดยใช้ลายเต้ยโขง, เต้ยธรรมดาออกลายลำเพลิน
การฟ้อนแขบลาน (แถบลาน)

การฟ้อนแขบลาน (แถบลาน)

ฟ้อนแขบลาน หรือฟ้อนแถบลาน คือการฟ้อนรำที่สืบทอดกันมาตั้งแต่โบราณกาลจนถึงปัจจุบัน โดยชาวบ้านเผ่าไทลาวในเขตอำเภอหล่มสัก  จังหวัดเพชรบูรณ์  เป็นการฟ้อนรำประกอบการขับกาพย์เซิ้งเพื่อประกอบในพิธีการทำบุญหลวงหรือบุญบั้งไฟ   เพื่อขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล    ในพิธีกรรมนี้จะมีการจุดบั้งไฟถวายเจ้าพ่อผาแดง 
ฟ้อนเอ้ดอกคูน

ฟ้อนเอ้ดอกคูน

ฟ้อนเอ้ดอกคูน คำว่า เอ้ เป็นภาษาอีสาน หมายถึงการประดับ ตกแต่ง จัดแจงให้สวยงามวิจิตร เอ้ดอกคูน จึงหมายถึง การประดับตกแต่ง จัดแจงดอกคูนให้สวยงาม งดงามวิจิตร ซึ่งเป็นจินตภาพอันได้จากความงดงามของดอกคูนที่บานสะพรั่งเหลืองอร่ามแซมด้วยใบเขียว พลิ้วโอนไหวยามต้องลม