หน้าแรก » การฟ้อนในภาคอีสาน
ประเพณีการสู่ขวัญ เป็นประเพณีตามศาสนาพราหมณ์ที่นิยมกระทำสืบต่อกันมาอย่างช้านาน ถือว่าเมื่อได้มีการทำพิธีนี้แล้วจะก่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต การทำพิธีีสู …
ฟ้อนตังหวาย เป็นชุดการแสดงเมื่อ นายประดิษฐ์ แก้วชิน ได้ไปพบการแสดงนี้ในอำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี เห็นว่าการแสดงหมอลำตังหวายมีทำนองสนุกสนาน จึงได้ทดลองให้เด็กนักเรียนมาฝึกหัด แล้วนำออกไปแสดงในงานปีใหม่ ที่ทุ่งศรีเมืองกลางเมืองอุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ.2514
เรือมอันเร นั้น จะเล่นกันในช่วงของวันหยุดสงกรานต์ โดยชาวบ้านจะเล่นเรือมอันเรที่ลานบ้านหรือว่าลานวัด เรือม แปลว่า รำ อันเร แปลว่า สาก ดังนั้น เรือมอันเร จึงแปลว่า การรำสาก เป็นการรำเพื่อความสนุกสนานในยามพักผ่อน ส่วนมากผู้ที่อยู่ในวงรำสากจะเป็นหญิงล้วน ส่วนหนุ่มๆจะมาเป็นกลุ่มยืนชมสาวที่กำลังรำอยู่ หากชอบคนไหนก็เข้าไปรำด้วย
การฟ้อนรำอีสานใต้ หรือ เรือมจับกรับ เป็นการละเล่นพื้นบ้านของชาวบ้านสวายจุ๊ ตำบลป่าชัย อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งแต่เดิมเรียกว่า อาไยลำแบ
เป็นการร้องประกอบกับการร่ายรำในเชิงเกี้ยวพาราสี ซึ่งในปัจจุบัน
เซิ้งสวิง เป็นการฟ้อนรำที่จำลอง หรือเล่าเรื่องราวการหาสัตว์น้ำของชาวบ้าน โดยใช้สวิงเป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือ แสดงคู่ชาย-หญิง ก็ได้ หรือ แสดงเพียงผู้หญิงเท่านั้น ก็ได้
เนื่องจากปี 2550 เป็นปีมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระชมมายุ 80 พรรษา ปวงชนชาวไทย ต่างน้อมรำลึก สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ ชมรมฯ จึงได้จัดชุ …
เพื่อเป็นการรำลึกถึงอาณาจักรศรีโคตรบูรณ์ ประวัติศาสตร์เล่าว่า เมื่อครั้งศรีโคตรบูรณ์รุ่งเรือง บ้านเมืองสงบสุข ศิลปะต่างๆ เจริญเป็นอันดี ศิลปะด้านดนตรี และนาฏศิลป์ ตามหัวเมืองน้อยใหญ่ ก็รุ่งเรือง เป็นที่นิยมมาก จึงได้ตั้งชื่อชุดการแสดงนี้ว่า ฟ้อนศรีโคตรบูรณ์
ฟ้อนเอ้ไอ่คำ นางสาวไพจิตร บุดดา ได้ให้สัมภาษณ์ว่า ผาแดง-นางไอ่ คือวรรณคดีอันเลื่องชื่อของอีสาน และนางไอ่คำ ธิดาของพญาขอมแห่งเมืองเอกชะธีตรนคร อันมีความสวยสดงดงา …
ระบำจัมปาศรี อาณาจักรจัมปาศรี หรือ นครจัมปาศรี ซึ่งตั้งอยู่บริเวณอำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคามนั้น มีความรุ่งเรืองมา 2 ยุคด้วยกันคือ ยุคทวาราวดี (พ.ศ. 1000 – …
ฟ้อนเก็บฝ้าย เป็นการแสดงที่สื่อให้เห็นถึงวิถีชีวิตอย่างหนึ่งของชาวไทอีสาน โดยเฉพาะชาวไทเลยและชาวไทในจังหวัดเพชรบูรณ์ ที่มีการทอผ้าฝ้ายมาใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำ …
พิธีกรรมการดึงครกดึงสาก เป็นพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับฝนฟ้า ซึ่งมักจะประกอบพิธีในช่วงปลายฤดูแล้ง เพื่อเป็นการเสี่ยงทายว่าในปีที่ทำการเสี่ยงทายนั้นจะมีปริมาณน้ำฝนม …
กะโป๋ คือกะลามะพร้าว ชาวอีสานรู้จักการใช้ประโยชน์จากกะลามะพร้าวมาเป็นวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น กระบวยตักน้ำ และสามารถทำเป็นเครื่องดนตรี เช่น พิณ …