หน้าแรก » การฟ้อนในภาคอีสาน » Page 2
ฟ้อนกลองตุ้ม หรือฟ้อนส่วยมือ เป็นการฟ้อนรำที่เก่าแก่และโบราณ ของชาวอีสาน ในอดีตนิยมฟ้อนด้วยผู้ชายทั้งหมด เป็นการฟ้อนรำประกอบจังหวะกลองตุ้ม ใช้ประกอบขบวนในการแห่ …
หมากกั๊บแก้บ(กรับ) เป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะของภาคอีสาน มีด้วยกัน 2 ประเภท คือ 1. กั๊บแก้บไม้สั้น เป็นไม้ผิวเรียบยาวประมาณ 4-6 นิ้ว 2. กั๊บแก้บไม้ยาว เป็นไม …
โหวด เป็นเครื่องดนตรีประเภทเป่าชนิดหนึ่ง และถือได้ว่า “โหวด” เป็นสัญลักษณ์ประจำจังหวัดร้อยเอ็ด ทำด้วยลูกแคนแต่ไม่มีลิ้น โดยนำเอากู่แคนจำนวนประมาณ 7 ถึง 13 อันม …
เป็นวัฒนธรรมของชนชาติลาวอีกประเภทหนึ่ง การลำสาละวันที่เก่าแก่ที่กำเนิดมาจากการทรงผีไท้ผีแถน ตามความเชื่อดั้งเดิมแล้วกลายมา เป็นมหรสพของชุมชน แล้วได้ประยุกต์เพิ่ …
ร้อยเอ็ดเพชรอีสาน พลาญชัยบึงงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมชั้นดี สตรีโสภา ทุ่งกุลาสดใส งานใหญ่บุญผะเหวด เป็นคำขวัญประจำจังหวัดร้อยเอ็ดเดิม ที่อธิบายลักษณะแหล่งท่ …
ชาวภูไทบ้านโพน มีศิลปะการฟ้อนรำที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะในแบบชาวบ้านดั้งเดิม และมีการสืบทอด จนเกิดเป็นพัฒนาการมาจนถึงปัจจุบันอยู่ 2 ชุดด้วยกัน คือ ฟ้อนละคอนภูไท และ …
เซิ้งกระหยัง ที่ได้ชื่อว่าเซิ้งกระหยังเพราะผู้ฟ้อนจะถือ กระหยัง เป็นส่วนประกอบในการแสดงของชาวภูไทบ้านหนองห้าง อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ เป็นแห่งแรกที่เป็นต้นกำเ …
โปง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กระปุง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ตี เป็นอาณัติสัญญาณบอกเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในวัดแทนการตีระฆัง หรือฆ้องและกลอง ถ้าโปงขนาดใหญ่มากเสียงก็จะทุ้มหรือต่ำตามขนาดของโปง ถ้าโปงมีขนาดเล็ก เสียงก็จะเล็กตามด้วย
การแสดง ฟ้อนสาวกาฬสินธุ์ลำเพลิน เป็นการฟ้อนประกอบทำนองลายลำเพลิน มีเนื้อหาเชิญเชิญให้ไปเที่ยวชมจังหวัดกาฬสินธุ์ ที่มีสถานที่ท่องเที่ยวสวยงาม
ฟ้อนแพรวากาฬสินธุ์ ได้ประดิษฐ์คิดค้นการแสดงโดย คณาจารย์ภาควิชานาฏศิลป์และดุริยางค์ โดยการควบคุมของ นายสิริชัย นักจำรูญ ผู้อำนวยการจากวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ ในปี พ.ศ.2534 เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ พระชนม์มายุครบ 60 พรรษา
ฟ้อนเต้ยหัวโนนตาล เป็นการแสดงฟ้อนรำประกอบทำนองลำเต้ยหัวโนนตาล มีลักษณะเป็นการฟ้อนเกี้ยวพาราสีกัน ระหว่างชายหญิงทางภาคอีสาน โดยได้แรงบันดาลใจจากวงหมอลำพื้นบ้านจ …
นารีศรีอีสาน หมายถึง หญิงสาวชาวอีสาน เป็นการแสดงที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ โดยคณะนักศึกษาชั้นสูงปีที่ 1 รายวิชาหลัก และวิธีจัดการแสดง ปีพุทธศักราช 2537 วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ โดยได้ความคิดมาจาก ท่าเซิ้งต่าง ๆ ของทางภาคอีสาน