ภาษาอีสานทั้งหมด 12341 - 12350 จาก 17431

  • พูดเดิม
    แปลว่า : พูดนินทา,พูดเรื่องคนอื่นลับหลัง(โคราช)
  • โต่งโหม่ง
    แปลว่า : ตำตา,ปรากฏชัดแก่ตา,เห็นอยู่โทนโท่ (โคราช)
  • โขกโหลกเขกเหลก
    แปลว่า : ไม่เป็นระเบียบ,ระเกะระกะ (โคราช)
  • จั๊กกะลืน
    แปลว่า : อาการสยิว,อาการรู้สึกเสียวซ่านจนขนลุก(โคราช)
  • จิ
    แปลว่า : จะ(โคราช)
  • กะทั่กกะเทิน
    แปลว่า : ลักษณะที่กระทำอย่างครึ่งๆกลางๆ,กลางคัน,ก้ำกึ่ง (โคราช)
  • เสิ่นขึ่น
    แปลว่า : ยกย่องเพื่อยุให้ทำ,อวดดี,โอ้อวด,พูดห้ามไม่ให้ทำอะไรกลับทำเหมือนยั่วอารมณ์ (โคราช)
  • ว่ะวาบ
    แปลว่า : โล่งอกขึ้นทันที,สบายใจขึ้นทันที,สร่างในทันทีทันใด (โคราช)
  • จืดจ่องหล่อง
    แปลว่า : จืดจนไม่มีรสชาติ , ลักษณะอาหารที่มีน้ำไม่เข้มข้นจนไม่มีรสชาติ (โคราช)
  • ทั่วะเห่อ
    แปลว่า : เถอะน่า , เถอะนะ (โคราช)