ภาษาอีสานทั้งหมด 981 - 990 จาก 17431

  • ฮ่าง
    แปลว่า : พัง ชำรุด เสียหาย

  • แปลว่า : พยัญชนะตัวต้นของพยัญชนะทั้งหมด เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก
  • ก็
    แปลว่า : ก็เป็นคำต่อหรือแต่งความให้ติดกัน โบราณเขียนจุดบอดไว้บนหัว
  • ก๊กก๊ก
    แปลว่า : มีเสียงดังอย่างนั้น เช่น เสียงเคาะไม้
  • กกแข้ว
    แปลว่า : รากฟัน
  • กกุธ์ห้า
    แปลว่า : เครื่องหมายความเป็นพระราชาธิบดี ๕ อย่าง คือ ๑.มงกุฎ ๒.พระขรรค์ชัยศรี ๓.เศวตฉัตร ๔.แส้จามร ๕.ฉลองพระบาตร ทั้ง ๕ นี้เรียกว่า กกุธ์ห้า กุกกุห้าก็เรียก อย่างว่ากุกกุภัณทะห้าของพระยาปางก่อน พี่ก็ยอยกม้วนองค์อ้วนผู้เดียว (สังข์).
  • กกุสนธ์
    แปลว่า : พระนามพระพุทธเจ้าองค์แรกที่เกิดในภัทรกัปนี้ เรียก พระกกุสันธะ กุกกุสันธะก็เรียก ในภัทรกัปนี้มีพระพุทธเจ้ามาเกิด ๕ พระองค์ คือ พระกกุสันโธ พระโกนาคมโน พระกัสสโป พระโคตโม พระอริยเมตตรัยโย (ป. กกุสนธ).
  • กง (ดื้อ)
    แปลว่า : ดื้อ พยศ ขัดขืน คนดื้อด้านไม่ฟังคำสั่งสอนเรียก คนกง โกง ก็ว่าอย่างว่า อย่าชะกงหลายถ้อน หัวคานงงไม้ไผ่ป่า คันกะต่าบ่ห้อยบ่มีได้อ่านแอ่นกลางฯ อย่าซะกงหลายถ้อน หัวคานงงไม้ฮวก บ่แม่นพวกหมู่นี้ ใผชิโก้ยขึ้นนั่งชาน(บ.).
  • กง (แม่กง)
    แปลว่า : ชื่ออักษรที่มีตัว ง สะกด เรียกว่า แม่กง หรือ มาตรากง
  • ก่ง (เก่ง)
    แปลว่า : ผู้เก่งกล้า ผู้มีความสามารถ อย่างว่า เมื่อนั้นผู้ก่งท้าวทรงเทศเป็นพระยาวางธรรมถวายผนวชไลลาไว้ บัวนางล้อมระวังเพ็งพื้นล่าง ถวายเสื้อผ้าทังม้าวมิ่งแหวน (สังข์)