ประโยคสนทนาภาษาอีสาน 1801 - 1810 จาก 2286
คำว่า สืบขี้มูก
คือขี้มูกกื๊ดแท้อิหล่า ให้อีแม่เช็ดออกแหน่ แปลว่า ขี้มูกโป่งจังเลยหนูน้อย ให้คุณแม่เช็ดออกหน่อย
คือขี้มูกกื๊ดแท้อิหล่า ให้อีแม่เช็ดออกแหน่ แปลว่า ขี้มูกโป่งจังเลยหนูน้อย ให้คุณแม่เช็ดออกหน่อย
คำว่า ใช่
แมนอีหลีอยู่เบาะ (ใช่หรอ)
แมนอีหลีอยู่เบาะ (ใช่หรอ)
คำว่า ใช่
แม่นแล้ว (ใช่แล้ว) แม่นอยู่(ใช่อยู่) แม่นแม่น(ใช่ ๆ)
แม่นแล้ว (ใช่แล้ว) แม่นอยู่(ใช่อยู่) แม่นแม่น(ใช่ ๆ)
คำว่า กองอะยะ
กองอะยะ บางทีก็ออกเสียง กองอ๊ะย๊ะ
กองอะยะ บางทีก็ออกเสียง กองอ๊ะย๊ะ
คำว่า ขาจั้ง
ขาจัง หรือ ขาจั้ง = ขาเป็นตะคริว เหน็บชา จากอาการเมื่อยล้า ขาจั้ง = ขาตั้ง เช่น ขาจั้งรถมอเตอร์ไซต์ เป็นต้น
ขาจัง หรือ ขาจั้ง = ขาเป็นตะคริว เหน็บชา จากอาการเมื่อยล้า ขาจั้ง = ขาตั้ง เช่น ขาจั้งรถมอเตอร์ไซต์ เป็นต้น
คำว่า ขาจั้ง
ขาจั้ง หรือ ขาจัง บางพื้นที่ออกเสียงไม่เหมือนกัน อาจจะไปสับสนกับคำว่า ขาจั้ง ที่หมายถึงขาตั้ง
ขาจั้ง หรือ ขาจัง บางพื้นที่ออกเสียงไม่เหมือนกัน อาจจะไปสับสนกับคำว่า ขาจั้ง ที่หมายถึงขาตั้ง
คำว่า อัญญา
ญาพ่อ , ญาแม่ , ญาเอื้อย บางที่ก็เขียน อาญา , อัญญา , อัญยา , อาชญา , อาชยา , อาจยา , อาตยา , อาดยา มาจากคำว่า อาญา / อาชญา (เสียง ญ ต้องออกเสียงนาสิก) หมายถึง เจ้านาย เจ้าชีวิต เจ้าผู้เป็นใหญ่เหนือกฎหมายใด ๆ เหนือชีวิต เป็นเจ้าชีวิตเลยก็ว่าได้
ญาพ่อ , ญาแม่ , ญาเอื้อย บางที่ก็เขียน อาญา , อัญญา , อัญยา , อาชญา , อาชยา , อาจยา , อาตยา , อาดยา มาจากคำว่า อาญา / อาชญา (เสียง ญ ต้องออกเสียงนาสิก) หมายถึง เจ้านาย เจ้าชีวิต เจ้าผู้เป็นใหญ่เหนือกฎหมายใด ๆ เหนือชีวิต เป็นเจ้าชีวิตเลยก็ว่าได้
คำว่า เอิ้น
ไปเอิ้นพ่อมานี่ แปลว่า ไปเรียกพ่อมานี่หน่อย
ต้นไม้ต้นนี้เขาเอิ้นต้นหยัง แปลว่า ต้นไม้ต้นนี้เขาเรียกว่าต้นอะไร
ผู้ใหญ่บ้านเอิ้นพี่เอิ้นน้องมาประชุม แปลว่า ผู้ใหญ่บ้านประกาศเรียกชาวบ้านมาประชุมร่วมกัน
คำว่า ม้ม
มันบ่ม่มกันดอก แปลว่า มันหนีกันไม่พ้นหรอก (คนจะคู่กันยังไงก็หนีกันไปพ้น)
มันบ่ม่มกันดอก แปลว่า มันหนีกันไม่พ้นหรอก (คนจะคู่กันยังไงก็หนีกันไปพ้น)