ภาษาอีสานวันละคำ 501 - 510 คำ จาก 2452
501 - 510 คำ จาก 2452-
ภาษาอีสานวันละคำ
2024-01-02 "หำต่ง"
แปลว่า : น. หำใหญ่ (ภาษาภูไท) -
ภาษาอีสานวันละคำ
2024-01-01 "เมือเฮือน"
แปลว่า : กลับบ้าน บางท้องถิ่นพูดว่า เมียเฮียน ก็ได้เช่นกัน -
ภาษาอีสานวันละคำ
2023-12-31 "ผักขะแยง"
แปลว่า : ผักแขยง บางทีก็เขียนว่า ผักกะแยง -
ภาษาอีสานวันละคำ
2023-12-30 "เตี้ย"
แปลว่า : ต่ำ ไม่สูง ต้นไม่ต่ำ เรียก ต้นไม้เตี้ย เช่น ผักอีตู่เตี้ย ผักกระโดนเตี้ย เปี้ย ก็ว่า. -
ภาษาอีสานวันละคำ
2023-12-29 "บักแหล่"
แปลว่า : ไอ้ดำ เป็นคำด่าคนที่มีผิวคล้ำหรือดำ -
ภาษาอีสานวันละคำ
2023-12-28 "อุ่ม"
แปลว่า : พุ่มไม้ พุ่มไม้เรียก อุ่มไม้ เช่น อุ่มเหม้า อุ่มจาน อุ่มเหมือดแอ่ อุ่มแก อุ่มบก อุ่มบาก. -
ภาษาอีสานวันละคำ
2023-12-27 "ลอยอ่องล่อง"
แปลว่า : ว. ลอยขึ้นไปแบบไม่มีอุปสรรค ดำเนินไปโดยไม่มีอะไรกีดขวาง เช่น โคมไฟลอยอ่องล่อง ๆ ขึ้นไปเทิงฟ้า -
ภาษาอีสานวันละคำ
2023-12-26 "ฮูดัง"
แปลว่า : รูจมูก -
ภาษาอีสานวันละคำ
2023-12-25 "บ่มี"
แปลว่า : ไม่มี -
ภาษาอีสานวันละคำ
2023-12-24 "แมงจินูน"
แปลว่า : แมลงนูน แมลงนูนเขียวเป็นด้วงที่มีสีสันสวยงามเป็นที่สนใจแก่ผู้พบเห็น อาหารตัวเต็มวัยได้แก่ใบไม้พืชในวงศ์ ตะแบก ( Lythraceae ) แต่หากนำมาเพาะเลี้ยงสามารถให้กล้วยเป็นอาหาร เขตแพร่กระจาย ตั้งแต่อินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา และทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยจะมีระยะการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวอ่อนหรือหนอน ระยะดักแด้ ระยะตัวเต็มวัย ตัวหนอนมีขาสามคู่ ไม่มีขาเทียม ตัวเต็มวัยมีสีเขียววาว มีสวนขอบของส่วนหัว ลำตัวและปีกเป็นสีทองแดงด้านใต้ท้องและส่วนขามีสีทองแดง มีระยางค์สัมผัสที่ส่วนหัว 2 คู่ มีกราม 2 คู่ และหนวด 1 คู่ แบบใบไม้ lamellate แมลงนูนเขียวยังเป็นแมลงที่ได้รับความสนใจของผู้เลี้ยงแมลงในกลุ่มด้วงจากต่างประเทศ และมีการนำแมลงนูนเขียวมาบริโภคเป็นอาหาร แมงกินูน, แมงอีนูน ก็เรียก