บทความหมวดหมู่ : ศิลปวัฒนธรรม
หน้าแรก » ศิลปวัฒนธรรม » Page 14
“บุญผะเหวด” เป็นสำเนียงชาวอีสานที่มาจากคำว่า “บุญพระเวส“หรือ พระเวสสันดร เป็นประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติสืบมา ตามคติความเชื่อของชาวอีสานที่ว …
ครั้นถึงเวลาประมาณ 14-15 นาฬิกาของมื้อโฮมหรือวันรวม(วันที่สอง) ผู้เฒ่าผู้แก่จะพากันนำเครื่องสักการะบูชาประกอบด้วยขันห้า ขันแปด บาตรจีวร ร่ม กระโถนกาน้ำ และไม้เท …
โดยส่วนใหญ่ นิยมทำในช่วงเดือนสี่ (เดือนทางจันทรคติ) ซึ่งจะอยู่ประมาณเดือนมีนาคม แต่บางวัด บางหมู่บ้าน ก็จัดงานบุญผะเหวดในช่วงออกพรรษา ก็มี การเตรียมงาน 1. แบ่งห …
เมื่อล้างบั้งไฟเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นตอนการร้อยสายชนวน โดยสายชนวนนั้น ใช้กระดาษข่อยบางๆ หาซื้อได้ตามท้องตลาด ซึ่งต้องจัดเตรียมไว้ก่อนหน้านี้ การทำสา …
ค้างจุดบั้งไฟ คือ ฐานสำหรับวางพาดบั้งไฟเพื่อเตรียมจุด นำลำไม้ไผ่ลำใหญ่ๆ ยาวๆ เท่ากัน 3 ลำ มาตั้งเป็น 3 ขา ให้ปลายด้านบนทั้ง 3 ก่ายเกยกันและมัดติดกันไว้ จากนั้น …
ทีมงานอีสานร้อยแปดมื้อนี้จะพาไปเบิ่งส่วนประกอบของบั้งไฟว่ามีอะไรบ้าง มีส่วนผสมอะไรทำไมบั้งไฟมันถึงจุดขึ้นได้ อยากรู้กันแล้วแม่นบ่ ไปเบิ่งส่วนประกอบต่างๆของบั้งไ …
ผูกกระบอกบั้งไฟติดหาง หลังจากไขรูแล้ว ก็นำกระบอกบั้งไฟไปมัดติดกับหางบั้งไฟ ซึ่งเตรียมไว้แล้ว โดยกระบอกกับหาง ต้องสมดุลกัน ไม่หนักหาง ไม่เบาหาง หนักหาง คือหางยาว …
เถือด การเจาะรูนี้ ให้เริ่มจากด้านท้ายซึ่งก็คือด้านที่อัด “เถือด” นั่นเอง โดยใช้เหล็กปากจิ้งจกหมุนเจาะตรงกึ่งกลางกระบอกลงไปเรื่อยๆ จนทะลุหัวบั้งไฟ ซึ่งหมื่อแต่ …
การกระทุ้งบั้งไฟ เตรียมฐานรองสำหรับกระทุ้ง ซึ่งฐานรองนี้ ต้องใช้ไม้เนื้อแข็ง หนาประมาณ2ศอก เซาะรูขนาดให้หัวบั้งไฟเข้าได้ ลึกประมาณ1ศอก เตรียมไม้ตำบั้งไฟ(ไม้กระท …
การเซิ้งบั้งไฟ เซิ้ง คือการขับบทกลอนประเภทกาพย์ ด้วยจังหวะและทำนองเฉพาะตัว โดยมีผู้นำขับกาพย์เซิ้ง 1 คน ร้องนำไปทีละวรรค คนที่เหลือก็ร้องตามไปทีละวรรค เซิ้งบั้ง …
ช่วงเวลาทำบุญบั้งไฟ เดือนหก เดือนเจ็ด (เดือนทางจันทรคติ) ซึ่งอยู่ประมาณช่วงเดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม ลักษณะพิธีกรรม เมื่อได้ประชุมกำหนดวันจะทำบุญบั้งไฟแล้ว พวกช่าง …
บั้งไฟ เป็นกระบอกไม้ไผ่บรรจุดินปืน นิยมใช้ไม้ไผ่ขนาดใหญ่และยาวตามความต้องการ นิยมทำกัน 3 ขนาด คือ บั้งไฟแสน ขนาดใหญ่ เรียกบั้งไฟแสน ใช้หมื่อ(ดินปืน) หนัก 1 แสน …