ภาษาอีสานหมวด "ค" 711 - 720 จาก 975

  • คนมัง
    แปลว่า : คนที่ท่าทางแข็งแรง
  • คักแท้น้อ
    แปลว่า : แน่จริงๆนะ , ดีจริงๆนะ , บางทีมักจะถูกใช้ในความหมายเชิงประชดประชัน แปลว่า คิดว่าแน่นักหรอ
  • คนแจ้
    แปลว่า : ชื่อคนร้างเล็กและเตี้ย
  • คูบา
    แปลว่า : พระบวชใหม่ไม่เกิน 10 พรรษา แต่ถ้าเป็นความหมายตามประเพณีล้านนา เป็นตำแหน่งที่คณะสงฆ์พิจารณาแต่งตั้ง โดยพิจารณาว่าพระรูปนั้นได้ทำประโยชน์ให้กับสังคม และชาวบ้านให้ความยอมรับนับถือ โดยมากจึงเป็นพระที่มีพรรษามาก และประเพณีเดิม หากครูบารูปนั้นมีเชื้อสายเจ้า ก็จะเรียกว่า "ครูบาเจ้า" แต่ภายหลังชาวบ้านจะใช้คำว่าครูบาเจ้าในความหมายว่าเป็นครูบาที่เคารพนับถือสูงสุดด้วย ปัจจุบัน ไม่มีการแต่งตั้งตำแหน่งครูบาเป็นทางการอีก มีแต่ชาวบ้านที่นับถือภิกษุรูปใดมากเป็นพิเศษก็จะเรียกกันไปเอง ถ้าได้รับการยอมรับก็จะเรียกกันในวงกว้าง แต่ถ้าไม่ได้รับการยอมรับก็เรียกกันไม่กี่คนแล้วเงียบหายไปเองคำว่า ครูบา มาจากภาษาบาลีว่า ครุปิ อาจาริโย หรือ ครุปา แล้วก็เพี้ยนเป็น ครูบา10 พรรษาขึ้นไป เรียก "อาจารย์" 20 พรรษาขึ้นไป เรียก "ครูจารย์" 30 พรรษาขึ้นไป เรียก "พ่อแม่ครูอาจารย์" ปัจจุบัน ภาคอีสานจะเหลือแค่ ครูบา อาจารย์ และถ้าพรรษาเยอะ อายุเยอะ (60 ปีขึ้นไป) จะเรียกว่า หลวงปู่ แต่หากพระรูปนั้นมีครอบครัวมาก่อนบวชจะเรียกว่า หลวงตา (ต่างจากภาคกลางที่เรียกว่า หลวงตา ยกเว้นจะเป็นญาติตัวเองในระดับปู่ จึงจะเรียกว่า หลวงปู่) นอกจากนี้ ในภาคอีสานยังมีคำเรียกพระ ว่า สำเร็จ ยาซา ยาคู ราชคู คำเรียกพวกนี้เป็นสมณศักดิ์ ปัจจุบันของไทยไม่มีแล้ว แต่ยังมีทางฝั่งลาว 
  • ครูบา
    แปลว่า : พระบวชใหม่ไม่เกิน 10 พรรษา แต่ถ้าเป็นความหมายตามประเพณีล้านนา เป็นตำแหน่งที่คณะสงฆ์พิจารณาแต่งตั้ง โดยพิจารณาว่าพระรูปนั้นได้ทำประโยชน์ให้กับสังคม และชาวบ้านให้ความยอมรับนับถือ โดยมากจึงเป็นพระที่มีพรรษามาก และประเพณีเดิม หากครูบารูปนั้นมีเชื้อสายเจ้า ก็จะเรียกว่า "ครูบาเจ้า" แต่ภายหลังชาวบ้านจะใช้คำว่าครูบาเจ้าในความหมายว่าเป็นครูบาที่เคารพนับถือสูงสุดด้วย ปัจจุบัน ไม่มีการแต่งตั้งตำแหน่งครูบาเป็นทางการอีก มีแต่ชาวบ้านที่นับถือภิกษุรูปใดมากเป็นพิเศษก็จะเรียกกันไปเอง ถ้าได้รับการยอมรับก็จะเรียกกันในวงกว้าง แต่ถ้าไม่ได้รับการยอมรับก็เรียกกันไม่กี่คนแล้วเงียบหายไปเองคำว่า ครูบา มาจากภาษาบาลีว่า ครุปิ อาจาริโย หรือ ครุปา แล้วก็เพี้ยนเป็น ครูบา10 พรรษาขึ้นไป เรียก "อาจารย์" 20 พรรษาขึ้นไป เรียก "ครูจารย์" 30 พรรษาขึ้นไป เรียก "พ่อแม่ครูอาจารย์" ปัจจุบัน ภาคอีสานจะเหลือแค่ ครูบา อาจารย์ และถ้าพรรษาเยอะ อายุเยอะ (60 ปีขึ้นไป) จะเรียกว่า หลวงปู่ แต่หากพระรูปนั้นมีครอบครัวมาก่อนบวชจะเรียกว่า หลวงตา (ต่างจากภาคกลางที่เรียกว่า หลวงตา ยกเว้นจะเป็นญาติตัวเองในระดับปู่ จึงจะเรียกว่า หลวงปู่) นอกจากนี้ ในภาคอีสานยังมีคำเรียกพระ ว่า สำเร็จ ยาซา ยาคู ราชคู คำเรียกพวกนี้เป็นสมณศักดิ์ ปัจจุบันของไทยไม่มีแล้ว แต่ยังมีทางฝั่งลาว
  • คันเทือย
    แปลว่า : กระเทย ชายที่มีอวัยวะเพศไม่แข็ง
  • คิดฮอดหลาย
    แปลว่า : คิดถึงมาก
  • คักน้อสู
    แปลว่า : ใช้กับอะไรที่มากเกิน เช่น มีหนุ่มๆมาจีบ มากหน้าหลายตา เพื่อนเห็นจึงอิจฉา อุ้ย คักเน้าะสูวว ,สูใช้เวลาอยุ่รวมกันเปนกลุ่มสองคนขึ้น
  • คิดฮอดคือกัน
    แปลว่า : คิดถึงเหมือนกัน
  • คึดหลาย
    แปลว่า : คิดมาก