ภาษาอีสานหมวด "พ" 651 - 660 จาก 663
-
เพอ
แปลว่า : ส.ใคร ผู้ใด (ภาษาภูไท) -
พุ
แปลว่า : ก. ผูก (ภาษาภูไท) -
เพอ
แปลว่า : น. ใคร เพอสิไปนำแน่ แปลว่า ใครจะไปด้วย (ภาษาภูไท) -
โพด
แปลว่า : ว. เกินไป (ภาษาภูไท) -
โพะ
แปลว่า : น. พ่อ หรือ ตา (ภาษาภูไท) -
พ้อ
แปลว่า : ก. พบ พบเห็น เจอแล้ว (ภาษาภูไท) -
เพอ
แปลว่า : น. ใคร เช่น เพอสิไปกับข่อย (ภาษาภูไท) -
เพี่ย
แปลว่า : น. กากอาหารที่อยู่ในลำไส้ของวัว ควาย แพะ หรือสัตว์เคี้ยวเอื้อง ขี้เพี้ยที่ดีจะเป็นขี้เพี้ยที่อยู่ถัดจากถุงน้ำดี ขี้เพี้ยบริเวณนี้จะมีลักษณะเหลวเป็นน้ำ เป็นความละเอียด กากอาหารน้อย เรียกว่า เพี้ยหัวดี (ออกเสียงว่า เพี่ยหัวดี) ส่วนขี้เพี้ยที่อยู่หลังจากส่วนนี้ไปจะมีกากอาหารมาก มีรสขมน้อยกว่าเพี้ยหัวดี -
เพี้ย
แปลว่า : น. กากอาหารที่อยู่ในลำไส้ของวัว ควาย แพะ หรือสัตว์เคี้ยวเอื้อง ขี้เพี้ยที่ดีจะเป็นขี้เพี้ยที่อยู่ถัดจากถุงน้ำดี ขี้เพี้ยบริเวณนี้จะมีลักษณะเหลวเป็นน้ำ เป็นความละเอียด กากอาหารน้อย เรียกว่า เพี้ยหัวดี (ออกเสียงว่า เพี่ยหัวดี) ส่วนขี้เพี้ยที่อยู่หลังจากส่วนนี้ไปจะมีกากอาหารมาก มีรสขมน้อยกว่าเพี้ยหัวดี -
เพี้ยหัวดี
แปลว่า : น. กากอาหารที่อยู่ในลำไส้ของวัว ควาย แพะ หรือสัตว์เคี้ยวเอื้อง ขี้เพี้ยที่ดีจะเป็นขี้เพี้ยที่อยู่ถัดจากถุงน้ำดี ขี้เพี้ยบริเวณนี้จะมีลักษณะเหลวเป็นน้ำ เป็นความละเอียด กากอาหารน้อย เรียกว่า เพี้ยหัวดี (ออกเสียงว่า เพี่ยหัวดี) ส่วนขี้เพี้ยที่อยู่หลังจากส่วนนี้ไปจะมีกากอาหารมาก มีรสขมน้อยกว่าเพี้ยหัวดี