ภาษาอีสานทั้งหมด 351 - 360 จาก 17431

  • กุ้น
    แปลว่า : สั้น, สั้นมาก กิ้น ก็เรียก
  • กุด
    แปลว่า : ด้วน
  • กิ่งดิ่ง
    แปลว่า : สูงชัน, ชัน
  • ก้าวหว้าว
    แปลว่า : เหวอะหวะ
  • ผักติ้ว
    แปลว่า : จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง มีความสูงของต้นเฉลี่ยประมาณ 3-12 เมตร และอาจสูงได้ถึง 35 เมตร เรือนยอดเป็นทรงพุ่มกลม โคนต้มมีหนาม กิ่งก้านเรียว ส่วนกิ่งอ่อนมีขนนุ่มอยู่ทั่วไป เปลือกลำต้นเป็นสีน้ำตาลแดง แตกล่อนเป็นสะเก็ด ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลแกมเหลือง ลำต้นมีน้ำยางสีเหลืองปนแดงซึมออกมาเมื่อถูกตัดหรือเกิดแผล ขยายพันธุ์วิธีการใช้เมล็ด เป็นต้นไม้ที่ทนแล้งได้ดี พบได้ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และทางภาคใต้ตอนเหนือ โดยจะขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าโปร่ง ป่าเต็งรัง ป่าตามเชิงเขา และตามป่าเบญจพรรณ
  • ก่นโต่น
    แปลว่า : ล่อนจ้อน คนที่ไม่นุ่งเสื้อผ้า นุ่งชุดวันเกิด เรียก ก่นโต่น หรือ ก่นต่น
  • กะบอง
    แปลว่า : กะไต้ ชื่อเครื่องตามไฟชนิดหนึ่ง เรียก กะบอง กะไต้ ไต้ ขี้ไต้ ก็ว่า
  • กะบั้ง
    แปลว่า : กระบอกไม้ไผ่มีข้อข้างหนึ่งทำไว้สำหรับตักน้ำ หรือใส่สิ่งของต่างๆ
  • กระจอน
    แปลว่า : ตุ้มหู เครื่องประดับหูของหญิงสาว ทำด้วยเงิน ทอง ทองคำ มี 2 ชนิด
  • กระจ้อน
    แปลว่า : -ชื่อสัตว์สี่เท้าชนิดหนึ่ง ตัวเล็กคล้ายกระรอก หรือกระแต หน้าแหลม -เล็ก แกร็น เช่น ม้าตัวเล็กและผอม เรียก ม้ากระจ้อน ม้าบักจ้อน