ภาษาอีสานทั้งหมด 937 - 946 จาก 17431

  • สูน
    แปลว่า : โกรธ, โมโห
  • ผัด
    แปลว่า : ขัด ปัด กวาด เช็ด ถู เพื่อให้สะอาดสวยงาม
  • แฮ่
    แปลว่า : กรวด หินลูกรัง
  • แว่
    แปลว่า : ไปมาหาสู่ เยี่ยมเยือน ความหมายคล้ายกับภาษากลางคำว่า แวะ
  • ตื่ม
    แปลว่า : เพิ่ม เติม
  • เสี่ยว
    แปลว่า : เพื่อนรักเพื่อนแท้ที่เป็นเพื่อนกันโดยพิธีผูกเสี่ยว สหาย มิตร เพื่อน เกลอ คนที่มีรูปร่างหรือนิสัยใจคอเหมือนกันหรือเกิดไล่เลี่ยกัน พ่อแม่ผูกให้เป็นมิตรกัน เรียก เสี่ยว อย่างว่า โขโนเจ้าพรานสวงสองเสี่ยว (กาไก).
  • ฟันเฮือ
    แปลว่า : ขุดถากไม้ให้เป็นเรือ
  • แฮ
    แปลว่า : เตรียมไว้ให้พร้อม
  • หม่าข้าว
    แปลว่า : แช่ข้าวสาร (ข้าวเหนียว) ให้น้ำให้ข้าวอ่อนก่อนนำไปนึ่ง
  • น้องงัว
    แปลว่า : ส่วนที่เป็นรกของวัว เวลาที่วัวตกลูกหรือคลอดลูก คนอีสานนำมาทำอาหารเมนูหลายหลาย เช่น อ่อม ต้ม ย่าง ลวกจิ้ม ต้มเปื่อย เป็นต้น ถือว่าเป็นเมนูที่หากินได้ยากและมีราคาแพง