ภาษาอีสานหมวด "ว" 251 - 260 จาก 408

  • เว้ายาก
    แปลว่า : พูดยาก สอนยากสอนเย็น
  • ว่าซ่าน
    แปลว่า : ว่าอย่างนั้น, ประมาณนั้น, ตามที่ได้กล่าวมานี้, ว่ากันว่าอย่างนั้นใช้พูดต่อท้ายประโยคบอกเล่า มักใช้กับการเล่าเรื่องที่ฟังจากคนอื่นมา หรือใช้กับการยกประโยคของคนอื่นมาพูดอีกทีคำว่า วะซั่น, ว่าซั่น, วะซ่าน, ว่าซ่าน จริง ๆ แล้ว มาจากคำว่า ว่าจังซั่น ซึ่งแปลว่า ว่ากันมาอย่างนั้น ว่าอย่างนั้น ว่าเช่นนั้นปัจจบันถูกใช้ร่วมกับภาษาไทยกลาง มีความหมายว่า เป็นคำสร้อยต่อท้ายประโยค แสดงความรู้สึกผิดคาดหรือผิดหวังเล็กน้อย เช่น "แฟนเพิ่งบอกเลิก เพราะเขาบอกว่าเราดีเกินไป ว่าซ่าน"
  • วัง
    แปลว่า : วังน้ำ มักจะพบในชื่อของหมู่บ้าน ตำบล อำเภอหรือจังหวัด ของจังหวัดในภาคอีสาน
  • ว่าจังได๋
    แปลว่า : ว่าไง ว่ายังไง เป็นยังไงบ้าง
  • เว่าตบแตก
    แปลว่า : ชัดเจน ไม่มีข้อสงสัย เช่น เว่ากันตบแตก แปลว่า พูดคุยกันจนเข้าใจตรงกันทุกคนทุกฝ่าย
  • เว่ากันตบแตก
    แปลว่า : ชัดเจน ไม่มีข้อสงสัย เช่น เว่ากันตบแตก แปลว่า พูดคุยกันจนเข้าใจตรงกันทุกคนทุกฝ่าย
  • เว้าบ่ม่วน
    แปลว่า : พูดไม่เพราะ
  • เว่าเก่ง
    แปลว่า : พูดเก่ง , พูดเยอะ 
  • เว่าดู๋
    แปลว่า : พูดบ่อย พูดมาก พูดเยอะ
  • วะซ่าน
    แปลว่า : ว่าอย่างนั้น, ประมาณนั้น, ตามที่ได้กล่าวมานี้, ว่ากันว่าอย่างนั้นใช้พูดต่อท้ายประโยคบอกเล่า มักใช้กับการเล่าเรื่องที่ฟังจากคนอื่นมา หรือใช้กับการยกประโยคของคนอื่นมาพูดอีกทีคำว่า วะซั่น, ว่าซั่น, วะซ่าน, ว่าซ่าน จริง ๆ แล้ว มาจากคำว่า ว่าจังซั่น ซึ่งแปลว่า ว่ากันมาอย่างนั้น ว่าอย่างนั้น ว่าเช่นนั้นปัจจบันถูกใช้ร่วมกับภาษาไทยกลาง มีความหมายว่า เป็นคำสร้อยต่อท้ายประโยค แสดงความรู้สึกผิดคาดหรือผิดหวังเล็กน้อย เช่น "แฟนเพิ่งบอกเลิก เพราะเขาบอกว่าเราดีเกินไป วะซ่าน"