ภาษาอีสานหมวด "ห" 1081 - 1090 จาก 1363
-
หงิบ
แปลว่า : เย็บ ทำให้ติดกันโดยใช้เข็มร้อยด้ายหรือเชือกเป็นต้นแทงขึ้นแทงลง เช่น เย็บผ้า เย็บกระสอบ, ใช้ตอกหรือหวายเป็นต้นที่มีปลายแหลมแทงขึ้นลงเพื่อร้อยสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ติดกัน เช่น เย็บจาก, ใช้เครื่องอุปกรณ์กดทำให้กระดาษติดกันด้วยลวดเย็บ เช่น เย็บกระดาษ, กลัดให้ติดกันด้วยไม้กลัดเป็นต้น เช่น เย็บกระทง. -
หยิบ
แปลว่า : เย็บ ทำให้ติดกันโดยใช้เข็มร้อยด้ายหรือเชือกเป็นต้นแทงขึ้นแทงลง เช่น เย็บผ้า เย็บกระสอบ, ใช้ตอกหรือหวายเป็นต้นที่มีปลายแหลมแทงขึ้นลงเพื่อร้อยสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ติดกัน เช่น เย็บจาก, ใช้เครื่องอุปกรณ์กดทำให้กระดาษติดกันด้วยลวดเย็บ เช่น เย็บกระดาษ, กลัดให้ติดกันด้วยไม้กลัดเป็นต้น เช่น เย็บกระทง. -
โหม่
แปลว่า : กินตั้งตัว,ลักษณะการกินของชิ้นใหญ่ๆ โดยไม่แบ่งให้เป็นชิ้นเล็กๆก่อน, กินทั้งชิ้น โดย เอาเข้าปากทีเดียว -
หน้ายาก
แปลว่า : ทำหน้ามุ่ย อาการไม่พอใจ อาการโมโหแสดงออกทางสีหน้า สีหน้าท่าทางออก -
เหม็นกุย
แปลว่า : เหม็นสาบ มีกลิ่นสาบ -
หาว่า
แปลว่า : ว่าไป, เป็นไปได้ไง -
ห้วย
แปลว่า : ธารน้ำ ลำธาร มักจะพบในชื่อของหมู่บ้าน ตำบล อำเภอหรือจังหวัด ของจังหวัดในภาคอีสาน -
หนอง
แปลว่า : ที่ลุ่มน้ำขัง บึง มักจะพบในชื่อของหมู่บ้าน ตำบล อำเภอหรือจังหวัด ของจังหวัดในภาคอีสาน -
หั่นเดะ
แปลว่า : นั่นไง กร่อนเสียงมาจากคำว่า หั่นเด๋ -
หิเดะ
แปลว่า : นี่ไง กร่อนเสียงมาจากคำว่า นี่เด๋ หรือ หิเด๋