ภาษาอีสานหมวด "ก" 1731 - 1740 จาก 1872

  • กืง
    แปลว่า : เป็นคำกริยา ขุดงัด ลักษณะขุดงัดออกมาจากเหล่ากอ
  • กัน
    แปลว่า : ฉัน ตัวฉัน ตัวเราเอง ใช้กับกับเพื่อนหรือคนที่อายุน้อยกว่า ถ้าใช้กับคนที่แก่กว่าถือว่าไม่สุภาพ หยาบคายเลยล่ะ
  • แก่งคูณ
    แปลว่า : แก่นไม้ของต้นคูณ (นิยมนำมาเป็นส่วนประกอบในการทำคำหมากสำหรับเคี้ยว) แก่นคูณก็ว่า ต่อมาเพี้ยนเป็น แก่งคูณ
  • กุ้บทีบ
    แปลว่า : มีไปทั่ว,เต็มไปทั้งหมด,มีเยอะทั่วทุกพื้นที่
  • กินแข่นๆ
    แปลว่า : กินเนื้อๆ กินแต่เนื้อ จับกินเฉยๆนี่ล่ะ กินแบบแห้งๆไม่มีน้ำ อาการมั่นใจมาก มีความมั่นใจมาก 
  • กอดกันอิ่งติ้ง
    แปลว่า : กอดแน่น กอดกันแน่นๆ กอดกันแบบไม่ไหวติง กอดกันแนบเนื้อ นั้งกอดกันแบบแนบเนื้อ
  • กะเยอ
    แปลว่า : สิ่งที่เป็นตามสภาพหรือปล่อยไว้ตามสภาพของมัน เรียก กะเยอ อย่างว่า ไซใส่หลังหล้าบ่หมาน ถึงกะใส่ไว่บ่ถืกกะใส่ไว้ ตามแต่กะเยิมปลา (บ.) กะเยิม ก็ว่า
  • กะด้อ
    แปลว่า : จะตาย, จะตายไป ใช้ต่อท้ายเพื่อย้ำว่าเป็นอย่างนั้นจริง ๆ
  • กวย
    แปลว่า : ไกว เช่ย กวยน้อง หมายถึง ไกวเปลกล่อมให้น้องนอน
  • กล้าบั้ง
    แปลว่า : ต้นกล้าของข้าว ที่แก่เกินไป ไม่เหมาะที่จะเอาไปปักดำ