ภาษาอีสานมาใหม่ 98 - 107 จาก 17431

  • เพี่ย
    แปลว่า : น. กากอาหารที่อยู่ในลำไส้ของวัว ควาย แพะ หรือสัตว์เคี้ยวเอื้อง ขี้เพี้ยที่ดีจะเป็นขี้เพี้ยที่อยู่ถัดจากถุงน้ำดี ขี้เพี้ยบริเวณนี้จะมีลักษณะเหลวเป็นน้ำ เป็นความละเอียด กากอาหารน้อย เรียกว่า เพี้ยหัวดี (ออกเสียงว่า เพี่ยหัวดี) ส่วนขี้เพี้ยที่อยู่หลังจากส่วนนี้ไปจะมีกากอาหารมาก มีรสขมน้อยกว่าเพี้ยหัวดี
  • ขี่เพี่ย
    แปลว่า : น. กากอาหารที่อยู่ในลำไส้ของวัว ควาย แพะ หรือสัตว์เคี้ยวเอื้อง ขี้เพี้ยที่ดีจะเป็นขี้เพี้ยที่อยู่ถัดจากถุงน้ำดี ขี้เพี้ยบริเวณนี้จะมีลักษณะเหลวเป็นน้ำ เป็นความละเอียด กากอาหารน้อย เรียกว่า เพี้ยหัวดี (ออกเสียงว่า เพี่ยหัวดี) ส่วนขี้เพี้ยที่อยู่หลังจากส่วนนี้ไปจะมีกากอาหารมาก มีรสขมน้อยกว่าเพี้ยหัวดี
  • ขี้เพี้ย
    แปลว่า : น. กากอาหารที่อยู่ในลำไส้ของวัว ควาย แพะ หรือสัตว์เคี้ยวเอื้อง ขี้เพี้ยที่ดีจะเป็นขี้เพี้ยที่อยู่ถัดจากถุงน้ำดี ขี้เพี้ยบริเวณนี้จะมีลักษณะเหลวเป็นน้ำ เป็นความละเอียด กากอาหารน้อย เรียกว่า เพี้ยหัวดี (ออกเสียงว่า เพี่ยหัวดี) ส่วนขี้เพี้ยที่อยู่หลังจากส่วนนี้ไปจะมีกากอาหารมาก มีรสขมน้อยกว่าเพี้ยหัวดี
  • ผักกาดสร้อย
    แปลว่า : น. ผักกาดเขียว มีกลิ่นขึ้นจมูกแบบวาซาบิ ชื่อสามัญ ผักกาดเขียว (Brassica juncea) Indian/ Chinese mustard (English), karashina (Japanese) ชื่อวิทยาศาสตร์ Brassica juncea (L.) Czern. วงศ์ Brassicaceae
  • ผักกาดส่อย
    แปลว่า : น. ผักกาดเขียว มีกลิ่นขึ้นจมูกแบบวาซาบิ ชื่อสามัญ ผักกาดเขียว (Brassica juncea) Indian/ Chinese mustard (English), karashina (Japanese) ชื่อวิทยาศาสตร์ Brassica juncea (L.) Czern. วงศ์ Brassicaceae
  • ผักกาดหิ่น
    แปลว่า : ผักกาดเขียว มีกลิ่นขึ้นจมูกแบบวาซาบิ ชื่อสามัญ ผักกาดเขียว (Brassica juncea) Indian/ Chinese mustard (English), karashina (Japanese) ชื่อวิทยาศาสตร์ Brassica juncea (L.) Czern. วงศ์ Brassicaceae
  • ผักกาดฮิน
    แปลว่า : น. ผักกาดเขียว มีกลิ่นขึ้นจมูกแบบวาซาบิ ชื่อสามัญ ผักกาดเขียว (Brassica juncea) Indian/ Chinese mustard (English), karashina (Japanese) ชื่อวิทยาศาสตร์ Brassica juncea (L.) Czern. วงศ์ Brassicaceae
  • ฮิน
    แปลว่า : ว. กลิ่นฉุนขึ้นจมูก
  • ขอบกระด้ง
    แปลว่า : น. อวัยวะภายในของวัว เป็นส่วนหนึ่งของทางเดินอาหารอยู่ติดกับผ้าขี้ริ้ว (Rumen) มีสีดำ ผิวขรุขระ ลักษณะคล้ายคันนาหรือขอบของกระด้ง นิยมนำมาทำลวกจิ้ม หรือทำซอยจุ๊ บางครั้งเรียก คันแทนา
  • จุ๋
    แปลว่า : ก. ถึง จรด แตะ เช่นหัวถึงขื่อ เรียก หัวจุขื่อ มือถึงน้ำเรียก มือจุน้ำ.