บทความหมวดหมู่ : คลังความรู้

ช่วงเวลาและลักษณะพิธีกรรมของบุญบั้งไฟ

ช่วงเวลาและลักษณะพิธีกรรมของบุญบั้งไฟ

ช่วงเวลาทำบุญบั้งไฟ เดือนหก เดือนเจ็ด (เดือนทางจันทรคติ) ซึ่งอยู่ประมาณช่วงเดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม ลักษณะพิธีกรรม เมื่อได้ประชุมกำหนดวันจะทำบุญบั้งไฟแล้ว พวกช่าง …
วันจุดบั้งไฟ

วันจุดบั้งไฟ

วันจุดบั้งไฟ ในวันจุดบั้งไฟ ตอนเช้ามีการทำบุญเลี้ยงพระ ตักบาตรถวายภัตตาหาร เลี้ยงดูญาติโยม แล้วแห่บั้งไฟไปรอบพระอุโบสถ เพื่อถวายแด่เทพารักษ์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ …
พระถั่งโปงแลง คืออะไร

พระถั่งโปงแลง คืออะไร

เป็นคำถามที่หลายๆคนสงสัยและสอบถามกันเข้ามากับประโยคที่ว่า "พระถั่งโปงแลง" หรือ "พระทั่งโปงแลง" ความหมายคืออะไรกันแน่ ขนาดคนอีสานแท้ๆหลายคนก็ยังไม่รู้ว่าหมายถึงอะไร เคยได้ยินก็แต่ "พระถังซัมจั๋ง" ส่วนพระถั่งโปงแลงนั้นก็เคยได้ยินจากเพลงดังของพี่นางศิริพร อำไรพงษ์
ธรรมของพ่อแม่ ตำราประเพณีอีสาน

ธรรมของพ่อแม่ ตำราประเพณีอีสาน

ทั้งลูกเต้าพ่อแม่ก็มีธรรม ปฏิบัติต่อกันอยู่ดีหายร้อน แต่บ่ปฏิบัติตามข่อคุณธรรมดังกล่าว ภาษาไทยเพิ่นกล่าวไว้ เตือนให้จื่อจำ อันว่าพ่อแม่บ่สอนลูกเต้า บอกผีเฝ้ากิน …
คำสอนคนอีสานเรื่อง “หน้าที่ของพ่อแม่”

คำสอนคนอีสานเรื่อง “หน้าที่ของพ่อแม่”

ก่อนหน้านี้เฮาได้นำเสนอคำสอนเกี่ยวกับลูกที่ดีไปแล้ว ผู้ที่จะเป็นพ่อคนแม่คน อีสานโบราณเพิ่มก็มีคำสอนคำแนะนำเขียนเอาไว้เช่นเดียวกัน หน้าที่ของพ่อแม่นั้นมีอยู่หลาย …
คำสอนเกี่ยวกับของเด็กเล่น

คำสอนเกี่ยวกับของเด็กเล่น

ครรลองของคนอีสานมีคำบอกคำสอนตั้งแต่ขั้นตอนการเกิดจนถึงหลังความตาย สอดแทรกข้อคิดต่างๆโดยเอาความเชื่อโยงเข้ามา เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือและยึดถือปฏิบัติกันมา เช่น …
การตั้งชื่อตามครรลองอีสาน

การตั้งชื่อตามครรลองอีสาน

วิธีการตั้งชื่อตามธรรมเนียมประเพณีอีสาน มีเขียนบอกเอาไว้ในหนังสือประเพณีอีสานเป็นคำผญา ที่งานอีสานร้อยแปดจึงได้ทำการรวบรวมและคัดลอกมาฝากกันเช่นเคย
ประเพณีคำสอนอีสานว่าด้วยเรื่อง “ลูกที่ดี”

ประเพณีคำสอนอีสานว่าด้วยเรื่อง “ลูกที่ดี”

เรื่องละเอียดลออในทุกๆเหตุการณ์ของคนอีสาน นับว่าเป็นสิ่งที่มีสเน่ห์มากๆ ทำให้เรารู้สึกได้ว่าประเพณีมีความพิถีพิถัน และสะสมองค์ความรู้มาอย่างยาวนาน ภูมิปัญญา ประ …
พิธีกรรม “การสู่ขวัญกรรม”

พิธีกรรม “การสู่ขวัญกรรม”

ขั้นตอนและวิธีการต่างๆหลังจากที่มี “การอยู่ไฟ” หลังจากนั้นก็จะมีการ “ออกกรรม” หมายถึงการเลิกอยู่ไฟ ไม่มีการ “คะลำ” กินคะลำอย …
“คะลำ” หรือ “ขะลำ” ว่าด้วยเรื่องคะลำๆของภาคอีสาน

“คะลำ” หรือ “ขะลำ” ว่าด้วยเรื่องคะลำๆของภาคอีสาน

คนอีสานคงจะเคยได้ยินคำว่า “คะลำ” หรือ “ขะลำ” เวลาที่เด็กๆจะทำอะไรที่แผลงๆ หรือ บางทีเราก็เคยได้ยินคนเฒ่าคนแก่บอกกล่าวตักเตือนว่าอย่าทำอย …
การออกกรรม ของแม่ลูกอ่อน

การออกกรรม ของแม่ลูกอ่อน

ประเพณีและภูมิปัญญาต่างๆนับว่าเป็นเรื่องที่มีความละเอียดมากๆ มีขั้นตอนต่างๆนับตั้งแต่การเกิดจนถึงหลังความตาย หลังจากที่ทีมงานอีสานร้อยแปดของเราเคยได้นำเสนอประเพ …
สะออน ออนซอน ความหมายต่างกันหรือไม่อย่างไร

สะออน ออนซอน ความหมายต่างกันหรือไม่อย่างไร

ภาษาอีสาน เป็นภาษาที่มีความหลากหลาย มีรายละเอียดปลีกย่อย แยกไปอีกหลายภาษาตามแต่ละท้องถิ่นหรือพื้นที่นั้น ๆ แต่ภาษาอีสานก็มีคำหรือศัพท์กลาง ๆ  ที่สามารถเข้าใจกันได้ในหมู่ชาวอีสาน